วันพุธที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บทที่ 5 สรุปอภิปรายและข้อเสนอแนะ



บทที่ 5
สรุป  อภิปราย  และข้อเสนอแนะ

                การศึกษาการวิจัยครั้งนี้ เรื่อง โครงการหลวงดอยคำ จังหวัดเชียงราย  ผู้วิจัยได้ผลวิเคราะห์ดังนี้
สรุปผลการวิจัย
                จากการวิเคราะห์ข้อมูล  ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิจัยดังนี้
                ตอนที่ 1  แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม  ซึ่งประกอบไปด้วย  เพศ  อายุ  ระดับการศึกษา  และอาชีพ  ดังนี้
1. เพศ : ผู้ตอบการประเมินจากกลุ่มตัวอย่าง แบ่งตามเพศดังนี้เพศชาย จำนวน  25 คน   คิดเป็นร้อยละ  50  เพศหญิงจำนวน 25  คน คิดเป็นร้อยละ  50
2. อายุ : ผู้ตอบแบบประเมินจากกลุ่มตัวอย่างแบ่งออกตามอายุดังนี้ ช่วงอายุ 12 - 20ปี จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ50 ช่วงอายุ  21 – 30 ปี  จำนวน  10 คน คิดเป็นร้อยละ 20  ช่วงอายุ  31 – 50 ปี จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20  ช่วงอายุ 60ปีขึ้นไป  จำนวน  5  คน  คิดเป็นร้อยละ  21.875 
3. ระดับการศึกษา : ผู้ตอบแบบประเมินจากกลุ่มตัวอย่าง แบ่งออกเป็น ระดับประถมศึกษา  จำนวน  15 คน  คิดเป็นร้อยละ 26  มัธยมศึกษา จำนวน 20 คนคิดเป็นร้อยละ  40 ระดับปริญญาตรี  จำนวน  15 คน คิดเป็น  30  อื่นๆ 2 คน คิดเป็นร้อยละ  4
4. อาชีพ : ผู้ตอบแบบประเมินจากกลุ่มตัวอย่าง แบ่งออกเป็น  นักเรียน  จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40  นักศึกษา  จำนวน  10 คน  คิดเป็นร้อยละ  20  นักธุรกิจ  จำนวน  3 คนคิดเป็นร้อยละ 6 เกษตรกร จำนวน  5 คน คิดเป็นร้อยละ  10  แม่บ้าน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10 อื่นๆ จำนวน 7 คน  คิดเป็นร้อยละ  14
               
การอภิปลายผล
                จากการวิเคราะห์ผลข้อมูล โครงการหลวงดอยคำ  ของจังหวัดสุพรรณบุรี ดังนี้
                1.การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการหลวงดอยคำ ทัศนคติของปราชนในตำบลท่าพี่เลี้ยงพบว่าส่วนมากมีทัศนคติที่ดีกับโครงการนี้           
2.คนส่วนมากคิดว่าโครงการหลวงดอยคำสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงและช่วยให้ชาวเขาเลิกปลูกฝิ่น

ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
                การวิจัยครั้งนี้อาจจะยังไม่สมบูรณ์แบบมากนักหรือบางครั้งอาจจะไม่มีข้อมูลที่ยังคงหาย ในการวิจัยครั้งต่อไปควรจะนำข้อมูลบางส่วนที่ยังคงไม่ค้นพบจากการวิจัยครั้งนี้การวิจัยครั้งนี้จะแสดงให้เห็นถึงความคิดเห็นของคนในจังหวัดสุพรรณบุรีที่มีต่อโครงการหลวงดอยคำ  

ไม่มีความคิดเห็น: